ในยุคที่สมาร์ทโฟนครองเมือง การแชตและสังคมออนไลน์ถือเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่ามาด้วยกันจนแทบจะแยกกันไม่ออกไปเสียแล้ว เราได้เห็นพัฒนาการของการแชตมาอย่างต่อเนื่องในภายในเวลา 1-2 ปีที่ผ่านมา จนถึงยุคปัจจุบันที่หลายๆ คนคุ้นเคยกับแอพพลิเคชั่นแชตอย่าง whatsapp และขาดไม่ได้ไปเสียแล้ว ในขณะเดียวกัน สังคมออนไลน์อย่าง Facebook และ Twitter ก็เป็นสิ่งที่หลายๆ คน “ต้อง” มีเพื่อให้ไม่พลาดความเคลื่อนไหวของคนใกล้ตัว แต่ในขณะที่แอพพลิเคชั่นดังๆ เหล่านี้ยังได้รับความนิยมอย่างล้นหลามอยู่ แอพพลิเคชั่นใหม่ 2 รายกลับสามารถแจ้งเกิดได้อย่างสวยงามและกำลังได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว นั่นก็คือ LINE และ Path วันนี้กองบรรณาธิการของ thumbsup จะมาถกกันในประเด็นนี้ว่าทำไมผู้ที่มาทีหลังถึงดังได้ ลองติดตามกันดู
ต้องถือว่าแอพพลิเคชั่น LINE ที่ใช้แชตระหว่างผู้ใช้อุปกรณ์
ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาต้องถือว่
จนกระทั่งวันที่ whatsapp แจ้งเกิดอย่างเป็นทางการกั
เมื่อ whatsapp สร้างฐานผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็
หากลองข้ามมายังฝั่งของ Path แอพพลิเคชั่นที่เป็นสั
หากเรามามองที่ภาพรวม จะเห็นว่าทั้ง 2 แอพพลิเคชั่นมีความเหมือนกัน นั่นก็คือ การเข้ามาในตลาดที่มีเจ้าตลาดที
รายแรกหรือไม่นั้นคงไม่สำคัญ มาทีหลังก็ดังได้ ปรากฎการณ์แบบนี้เห็นกันได้บ่อยขึ้นค่ะ ในยุคที่บริการบนโลกออนไลน์ ใครๆ ก็สามาถเข้าถึงได้เพียงปลายนิ้วสัมผัส และหลายครั้งก็ดังเร็วแบบชั่วข้ามคืน มารู้ตัวอีกที อ้าว!?เพื่อนเราเค้าเข้ามาอยู่กันในนี้เต็มแล้ว
แล้วอะไรคือจุดสำคัญที่ทำให้ทั้ง 2 รายสามารถดึงดูดให้คนมาใช้?
โดยปกติคุณสมบัติที่ทำให้ product ตัวหนึ่งสามารถเติบโตแพร่หลายได้ มักจะประกอบด้วย
- ต้องไม่มี barrier หรืออุปสรรคในการเริ่มใช้งานครั้งแรกที่ซับซ้อน? ซึ่งทั้ง 2 รายนั้นสอบผ่าน การสมัครใช้บริการของทั้ง 2 รายนั้นไม่ได้ซับซ้อนยุ่งยาก และปัจจุบันการพัฒนาแอพพลิเคชั่นแนว Social Network บนสมาร์ทโฟนนั้น หลายรายมักทำได้ดี เพราะถ้ายากแต่แรก มีหวังได้ม้วนเสื่อกลับบ้านแน่นอนเลยค่ะ
- การออกแบบ UI และฟีเจอร์ที่ทำให้คนสามารถค้นหาและเข้าถึง value หรือคุณค่าของสินค้าได้อย่างรวดเร็ว? สำหรับ Line แล้วคุณค่าของแอพฯ?ที่สร้างความแตกต่างจาก whatsapp อย่างที่ @chyutopia บอกนั้นก็คือ เมื่อเริ่มเล่นจะสังเกตเห็นว่ามีตัวการ์ตูนน่ารักๆ ซึ่งตอบโจทย์ และเข้าใจผู้ใช้ชาวเอเชียได้ดีเลยทีเดียว ในขณะที่ Path ให้ประสบการณ์การใช้งานทีดี มี UI สวยงาม มีฟีเจอร์การแสดงออกในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งปันรูป (ที่สามารถปรับรูปให้สวยได้ คล้าย instragram) ฟีเจอร์ที่คล้ายกับการ Checkin ฟีเจอร์ที่บอกว่าเรากำลังฟังเพลงอะไรอยู่ เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นฟีเจอร์พื้นฐานที่เหล่าผู้ใช้ Social Network คุ้นเคยอยู่แล้ว ถูกจับมารวมเอาไว้ในแอพฯ นี้ แบบไม่กระจัดกระจายและต้องมาคอยเปิดหลายแอพฯ
คุณสมบัติเหล่านี้อาจไม่ได้มีผลโดยตรงกับกลุ่ม Trend Setter เพราะเดิมทีก็เป็นพวกชอบลองของใหม่ พอมีอะไรใหม่ๆ ก็จะลองเล่นก่อน ถ้าเห็นว่าไม่ work สักพักก็จะเลิกไปเอง (อาทิเช่น Google Wave) แต่คุณสมบัติดังกล่าวจะมีผลมากในการก้าวเข้าสู่ผู้ใช้ในวงกว้าง ประกอบกับปัจจุบัน ?app เหล่านี้จะสร้างให้มีการดึงเพื่อนๆ บน Social Network เข้ามาได้โดยง่าย และเมื่อติดอันดับ Top Free Download บน Store ก็ยิ่งเป็นการสร้าง Visibility ให้คนที่ยังไม่เคยเล่น เกิดความสงสัย และลองโหลดมาเล่นอีกด้วย
ทั้งหมดเหล่านี้จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่แม้จะตามมาทีหลังชาวบ้าน แต่ถ้าสามารถสอบผ่านคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้น หาจุดเด่น สร้างความแตกต่างให้กับสินค้าของตัวเองได้ก็มีโอกาสแจ้งเกิด แต่จะสำเร็จยั่งยืนหรือไม่นั่นก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง เพราะยังต้องคำนึงถึง เอกลักษณ์ที่คู่แข่งต้องลอกเลียนแบบได้ยากด้วยนะคะ 😀
หลังจากที่ได้พูดคุยกับ 2 บรรณาธิการไปแล้ว คราวนี้เราลองไปคุยในแง่ความรู้สึกการใช้งานกับกองบรรณาธิการอีกท่านบ้างดีกว่า
สำหรับ Line ในตอนเริ่มต้นที่หันมาลองใช้
Line ตอบโจทย์ได้ดี ทำงานหลักของตัวเองได้ดี ซึ่งก็คือการรับส่งข้อความได้
- Contact list ของเราเอง
- Social media ที่เราใช้งาน
- เพื่อนของเพื่อนจาก Contact list (ข้อนี้ไม่รู้เค้าทำได้ยังไง แต่ทึ่งจริงๆ)
ส่วนวิธีการแอดเพื่อนหากัน Line ก็มีหลายวิธี แต่ที่เด่นคือ การแอดจาก ID ซึ่งจะเหมือนกับการแอดกันด้วย BB Pin แอดกันได้โดยไม่ต้องแลกเบอร์
ในส่วนของ Path เอง ตอนแรกก็ไม่ได้คิดจะใช้เลย เพราะ Social Media ที่มีอยู่เยอะ จาระไนแทบไม่หมด ทั้ง Facebook, twitter, instragram, google+, quipster
ทั้งหมดนี้ ผู้เขียนใช้แต่ตัวหลักๆ อย่าง Facebook และ Twitter ที่เหลือไม่ใช้เพราะขี้เกียจ (ฮาาาา) จุดที่ทำให้รู้สึกว่าต้องลอง (อีกแล้ว) คือ กระแสของ Path มันแรงจริงอะไรจริง เพื่อนเราขยันพูดและชื่นชมถึง path กันเสียจริง เลยต้องขอลองดูหน่อยว่ามันเป็
เมื่อได้ใช้แล้วก็ประทั