AIS ประกาศผลประกอบการ ปี 2562 มีรายได้รวม 183,432 ล้านบาท เติบโตขึ้น 8% จากปีก่อน ทำกำไรสุทธิ 31,051ล้านบาท เติบโตขึ้น 4.6% จากปีก่อน ครองส่วนแบ่งการตลาด อันดับ 1 ในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้งด้านรายได้มากที่สุดกว่า 48% และมีจำนวนผู้ใช้บริการมากที่สุ
โดยมีฐานลูกค้าเติบโตขึ้นกว่า 844,600 ราย ด้านธุรกิจเน็ตบ้าน เอไอเอส ไฟเบอร์ มีจำนวนผู้ใช้งานเติบโต 42% ฐานลูกค้ามากกว่า 1 ล้านราย สร้างรายได้เติบโต 29% ทั้งนี้ เอไอเอส ยังคงนโยบายจ่ายเงินปันผลไม่ต่ำ
ภาพรวมรายได้ยังเป็นบวก
คุณสมชัย เลิศสุทธิวงค์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส กล่าวว่า ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงหลายอย่
สำหรับธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ เติบโต 4.2% เทียบกับปีก่อน ทำให้เอไอเอสยังครองส่วนแบ่งการ
คนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นกว่าเดิม
โดยมีสัดส่วนลูกค้าระบบรายเดือน
ทั้งนี้ เอไอเอส ได้พัฒนาคุณภาพเครือข่าย 4G มาอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบัน เอไอเอสมีสถานีฐานมากที่สุดกว่า 158,000 สถานีฐาน โดยได้รับการจัดอันดับให้ AIS เป็นเครือข่ายมือถือและเน็ตบ้าน
เน็ตบ้านแนวโน้มดีขึ้น
ขณะที่ ธุรกิจอินเทอร์เน็ตบ้าน เอไอเอส ไฟเบอร์ ยังคงเติบโตเหนืออุตสาหกรรม ตลอดทั้งปี 2562 มีลูกค้าเพิ่มขึ้น 42% หรือกว่า 307,100 ราย จากปี 2562 ส่งผลให้ปัจจุบันมีลูกค้ามากกว่
จากการทำตลาดต่อเนื่องด้วยกลยุท
ส่วนธุรกิจบริการลูกค้าองค์กร การทำตลาด Enterprise ยังเป็นไปตามแผน ทั้งปีเติบโตใกล้เคียงคาดการณ์ จากยอดขายลูกค้าองค์กรที่เพิ่มขึ้นทั้งบริการด้านเทเลคอมและไอซี
โดยภาพรวม จากรายได้ที่เติบโตและการบริหาร
กลยุทธ์ปี 2020
ปี 2563 เอไอเอสพร้อมวางรากฐานการเติบโต
- เตรียมพร้อมเครือข่ายอย่างแข็งแ
กร่ง เพิ่มขีดความสามารถรองรับการขยา ยเครือข่ายในอนาคต - ยกระดับสินค้าและบริการที่ล้ำสมั
ยยิ่งกว่าเพื่อคนไทย - สร้างประสบการณ์ที่ดีที่เข้าถึง
ลูกค้าทุกเจเนอเรชัน ทั่วทุกภูมิภาค และ - ดำเนินธุรกิจด้วยนโยบายการพัฒนา
อย่างยั่งยืน ภายใต้การกำกับดูแลกิจการที่ดี ผ่านแนวคิด “ถ้าเราทุกคน คือเครือข่าย” ภายใต้โครงการ “อุ่นใจไซเบอร์” และกิจกรรมรณรงค์กำจัดขยะอิเล็ก ทรอนิกส์ E-Waste อย่างถูกวิธี
“ในปีที่ผ่านมา เอไอเอส ได้จัดตั้งบริษัทโบรกเกอร์ประกั
ด้านไทยคมสวนทางมหาศาล
ทางด้านของบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการดาวเทียมไทย รายงานผลประกอบการประจำปี 2562 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2563 เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563 อนุมัติให้เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินปันผลสำหรับปี 2562 ในอัตราหุ้นละ 0.20 บาท คิดเป็นเงินประมาณ 219 ล้านบาท บริษัทรายงานรายได้จากการขายและการให้บริการสำหรับปี 2562 รวมทั้งสิ้น 4,663 ล้านบาท ลดลง 22.4% เมื่อเทียบกับปี 2561
สาเหตุหลักจากการลดลงของลูกค้าดาวเทียม โดยอัตราการใช้งานของลูกค้าลดลงมากในช่วงครึ่งแรกในปี 2562 และกลับมาอยู่ในระดับคงที่ในช่วงครึ่งปีหลัง เนื่องจากมีลูกค้าใหม่หลายรายเข้ามาทดแทนบริษัทมีผลขาดทุนสุทธิ ไม่รวมรายการพิเศษ อาทิ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของดาวเทียม การขายเงินลงทุนและผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน สำหรับปี 2562 อยู่ที่ 432 ล้านบาท
ในขณะที่ผลขาดทุนสุทธิรวมรายการพิเศษ อยู่ที่ 2,250 ล้านบาท รายการพิเศษดังกล่าวรวมไปถึงการด้อยค่าของดาวเทียมจำนวนรวม 1,623 ล้านบาท สาเหตุจาก
- เหตุขัดข้องของดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่งทำให้บริษัทต้องทำการโอนย้ายลูกค้าทั้งหมดไปยังดาวเทียมดวงอื่นและ
- ภาวะอุตสาหกรรมดาวเทียมที่ชะลอตัวลงเนื่องจากพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งการแข่งขันที่รุนแรงในอุตสาหกรรม ส่งผลให้ราคาขายต่อหน่วยลดลงมากกว่าที่เคยได้คาดการณ์ไว้
อย่างไรก็ตาม การด้อยค่าของสินทรัพย์ถือเป็นรายการที่ไม่ใช่เงินสด ดังนั้นจึงไม่ได้มีผลกระทบต่อการบริหารเงินสดของบริษัท โดย ณ สิ้นปี 2562 บริษัทมีเงินสดคงเหลือที่ระดับ 5,703 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2562 อัตราการใช้บริการของลูกค้าเมื่อเทียบกับความสามารถในการให้บริการของดาวเทียมแบบทั่วไปซึ่งประกอบด้วยดาวเทียมไทยคม 5 ไทยคม 6 ไทยคม 7 และไทยคม 8 อยู่ที่ระดับ 55% ลดลงจาก 59% ณ สิ้นปี 2561
ซึ่งเป็นผลมาจากการลดลงของลูกค้าในช่วงไตรมาส 1/2562 โดยที่อัตราการใช้งานดาวเทียมแบบทั่วไปค่อนข้างคงที่ตั้งแต่ไตรมาสที่ 2/2562 เป็นต้นมา
สำหรับดาวเทียมบรอดแบนด์หรือดาวเทียมไทยคม 4 มีอัตราการใช้บริการของลูกค้าเมื่อเทียบกับความสามารถในการให้บริการของดาวเทียมที่ระดับ 23% ลดลงจาก 30% ณ สิ้นปี 2561 เป็นผลมาจากการลดระดับการใช้งานและการยุติการใช้บริการของลูกค้าบางราย