นักการตลาดที่ต้องดูแลแบรนด์เกี่ยวกับรถยนต์ต้องไม่พลาด หลัง Google เผยงานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้
Google ได้เผยงานวิจัยชิ้นใหม่เกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อรถยนต์หรือ “Think Auto” เพื่อเป็นการบอกเล่า เกี่ยวกั
คนซื้อรถมองหาอะไร
โดยงานวิจัยที่มีชื่อว่า “Gearshift 2018: Purchase Journey of Thai New Car Buyers” เป็นความร่วมมือระหว่าง Google และ TNS แสดงให้เห็นถึงกระบวนการที่ซั
การใช้โทรศัพท์มือถือทำให้ผู้
ผลการวิจัยที่ค้นพบมีดังนี้:
-
ผู้บริโภคไทยเปิดรับความคิดเห็
นต่างๆ ในระหว่างการหาข้อมูล โดยเฉลี่ยแล้ว คนไทยมีการพิจารณาแบรนด์รถยนต์ ที่สนใจ 4.7 แบรนด์ ก่อนทำการตัดสินใจ ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 2.9 แบรนด์ในปีที่ผ่านมา ถือเป็นข่าวดีสำหรับนั กการตลาดที่ต้องการสร้างอิทธิ พลต่อผู้บริโภค
-
เสิร์ชเอนจินและวิดีโอเป็นแหล่
งข้อมูลหลักบนโลกออนไลน์ เกือบ 99% ของผู้ซื้อรถยนต์ชาวไทยใช้เสิร์ ชเอนจินเป็นเครื่องมือในการหาข้ อมูล และ 96% ดูวิดีโอออนไลน์เพื่ อประกอบการตัดสินใจซื้อรถยนต์
-
วิดีโอออนไลน์ช่วยให้ตัดสินง่
ายขึ้น เกือบ 97% ของผู้ซื้อรถยนต์ที่ดูวิดี โอออนไลน์มีการตัดสินใจทำบางสิ่ งบางอย่างหลังจากนั้น โดยในจำนวนนั้น 62% เข้าชมเว็บไซต์ของแบรนด์รถยนต์ ที่สนใจต่อ (เพิ่มจาก 49% ในปีที่ผ่านมา) -
ผู้ซื้อรถตัดสินใจเร็วขึ้น ในยุคที่ผู้คนเข้าถึงข้อมูลข่
าวสารได้อย่างง่ายดาย ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อรถใหม่เร็ วขึ้น โดยมีการไปโชว์รูมเพื่อเลือกซื้ อรถโดยเฉลี่ยเพียง 2.6 ครั้ง และ 44% ตัดสินใจซื้อหลังจากการทดลองขั บเพียงครั้งเดียว โดยเฉลี่ยแล้วผู้บริโภคไทยจะใช้ เวลาประมาณ 2 เดือนในการตัดสินใจซื้อรถยนต์ แต่มี 15% ที่ใช้เวลาตัดสินใจเพียง 2 สัปดาห์เท่านั้น
งานวิจัยนี้มีความหมายอย่างไรต่อนักการตลาด:
งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่านั
“ผู้บริโภคไทยพิจารณาแบรนด์
รถยนต์เพิ่มขึ้นจากเดิม โดยกว่าครึ่ง หรือ 56% อยากลองแบรนด์ใหม่ ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซื้อรถยนต์กั บตัวแทนจำหน่าย การมีส่วนร่วมของลูกค้าเป็นสิ่ งสำคัญ และงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าสื่ อดิจิทัลมีอิทธิพลในการตัดสิ นใจซื้อรถยนต์ของคนไทยมากขึ้น”
มุมมองจาก NISSAN
สุรีทิพย์ ละอองทอง โฉมทองดี รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า “เราได้รับความร่วมมือจาก Google เป็นอย่างดี ความเชี่ยวชาญและเครื่องมือที่
โดย Google ได้แชร์ข้อมูลเชิงลึกเกี่
บริการของ Google ช่วยให้เราสามารถพัฒนาแนวทางที่